คำนำ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชนฉบับนี้ เป็นการรวบรวมผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จัดทำขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
ขอขอบคุณผู้อำนวยการ ขอขอบคุณคณะกรรมการฝ่ายประเมินและสรุปผลทุกท่านที่เสียสละเวลา กำลังกาย และกำลังใจ จนทำให้การประเมินโครงการครั้งนี้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประเมินผลการดำเนินโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ฉบับนี้จะสามารถเป็นข้อมูลในการพัฒนา กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น อย่างเต็มรูปแบบต่อไป
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น
สารบัญ
หน้า
บทที่ ๑ บทนำ ๔
ความเป็นมาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตเนื้อหา
บทที่ ๒ วิธีการดำเนินงาน ๖
ขั้นตอนการดำเนินงาน
- ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
- ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
- ขั้นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check
- ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
บทที่ ๓ ผลการดำเนินการและวิเคราะห์ข้อมูล ๘
ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย :
การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
บทที่ ๔ สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๑๔ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล
สรุปผลการดำเนินการ
ปัญหา/ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก
- โครงการ
- เอกสารประกอบอื่นๆ
- คณะทำงาน
บทที่ ๑
บทนำ
๑.๑ ความเป็นมาและความสำคัญ
การมีสุขภาวะที่ดีและมีสุขอนามัยดีด้วย ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทย แต่ปัจจุบัน สถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทั้งนี้สาเหตุ เนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทาง สังคม ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20ปี (พ.ศ.2561 ถึงพ.ศ. 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยเน้นการสร้าง ความรู้ความเข้าใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะและสร้างเครือข่ายภาคประชาชน สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญ และจําเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการทุกๆด้านในตัวบุคคล สุขภาพ ถือเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตปัจจุบัน สุขภาพวางอยู่บน ฐานที่ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะ ทั้งมิติทางกาย ทางใจ ทางสังคมและทางปัญญา (จิตวิญญาณ) การส่งเสริมสุขภาพเป็น กระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้ประชาชนมีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเป็นผลต่อสุข ภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิตใจและทางสังคม สุขภาพเป็นขุมพลังของชีวิต ของบุคคลและชุมชนในการควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ นอกจากนี้ปัจจุบันการสร้างเสริมสุขภาพไม่เป็นเพียงระบบย่อยของระบบสุขภาพแต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการ พัฒนาระบบสุขภาพสู่เป้าหมายในภาพรวม องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสุขภาพและระบบสุขภาพ จึงไม่ใช่เรื่องของ ระบบการแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องความร่วมมือกันของสังคม บทบาทที่สำคัญของครูและบุคลากร กศน. จึงจำเป็นต้องร่วมสร้างค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้บุคคลมีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ด้วยการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย และ เอื้อต่อการมีสุขภาพดีสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ร่วมสร้างวัฒนธรรมของการดำเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น และร่วมกันสร้างสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีสันติสุข จากที่กล่าวมาข้างต้น
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองขอนแก่น ได้เห็นความจำเป็นและความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องต่อไป
๑.๒ วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๑.๓ เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
๑. ประชาชนทั่วไปตำบลบ้านทุ่ม ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น จำนวน ๒๔ คน
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๑.๔ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้
๑. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่มีต่อการจัดกิจกรรม ภายใต้โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
๑.๕ ขอบเขตของการดำเนินโครงการ
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๑.๖ ระยะเวลาการดำเนินโครงการ
วันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕
บทที่ ๒
วิธีดำเนินการ
รายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้นำวงจรคุณภาพของเดมิ่ง PDCA มาใช้ในการดำเนินการ ๔ ขั้นตอนดังนี้
๑. ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
๒. ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
๓. ขั้นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check )
๔. ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
๑. ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการดำเนินการโดยมีขั้นตอน ดังนี้
๑.๑ ประชุมปรึกษาร่วมกัน
๑.๒ จัดทำโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ เสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบ
๑.๓ แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่กิจกรรมตามความเหมาะสม
๑.๔ จัดทำหลักสูตร
๑.๕ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั้งด้านสถานที่ พาหนะในการเดินทาง(ถ้ามี)
๑.๖ กำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ และวิธีประเมินผล
๒. ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน ดังนี้
๒.๑ บันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุญาตดำเนินการ
๒.๒ ดำเนินการตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ในวันที่ ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ สถานที่ ศาลาชุมชนโนนทัน๑ โดยมีกลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไป ตำบลบ้านทุ่ม จำนวน ๒๔ คน โดยมีกิจกรรมดำเนินการดังนี้
๒.๒.๑ จัดตั้งโครงการฯนำเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติ
๒.๒.๒ ประชาชนทั่วไป ตำบลบ้านทุ่ม เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๓. ขั้นตอนการร่วมกันประเมิน ( Check )
๓.๑ ดำเนินการประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ โดยใช้แบบทดสอบถามความคิดเห็น
๓.๒ ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale ) ใช้วิธีแจกแจงความถี่ หาค่าเฉลี่ย (X) และค่าร้อยละ ทั้งในรายข้อและภาพรวมเทียบกับเกณฑ์ ดังนี้
๔.๕๑-๕.๐๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด
๓.๕๑-๔.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับมาก
๒.๕๑-๓.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง
๑.๕๑-๒.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย
๑.๐๐-๑.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด
๓.๓ ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากแบบบันทึกกิจกรรม ใช้วิธี วิเคราะห์เนื้อเรื่อง ( Content Analysis )
๓.๔ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
๑. ค่าเฉลี่ย (Arithmetic: X )
๒. ค่าร้อยละ
๓.๕ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารและบุคลากร กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
๔. ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
เมื่อคณะกรรมการฝ่ายประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะผู้รับผิดชอบจึงได้นำสารสนเทศที่ได้มาปรับปรุง พัฒนาการงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
บทที่ ๓
ผลการดำเนินการและวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ สามารถสรุปตามขั้นตอนในการดำเนินงาน ดังนี้
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการดำเนินการโดยมีขั้นตอน พบว่า การประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างบุคลากร กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ทุกคนได้รับความร่วมมือและสนับสนุนการทำโครงการเป็นอย่างดี และนำเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบโครงการได้รับการอนุมัติโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่กิจกรรมตามความเหมาะสม แล้วสร้างความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินการ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั้งด้านสถานที่ พาหนะในการเดินทาง และกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ และวิธีประเมินผล ตามลำดับ
ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน คือ การบันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุญาตดำเนินการ พบว่า ได้รับการอนุญาตและให้ดำเนินการ และผลการดำเนินการตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ในวันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม จำนวน ๒๔ คน พบว่า กิจกรรมอบรมการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมด้วยดี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
ขั้นตอนการร่วมกันประเมิน ( Check )
การประเมินผลการจัดกิจกรรมตามการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น พบว่าวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ( x ) และค่าร้อยละ จากแบบสอบถาม โดยแปลความหมายดังต่อไปนี้
๔.๕๑-๕.๐๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มากที่สุด
๓.๕๑-๔.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มาก
๒.๕๑-๓.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปานกลาง
๑.๕๑-๒.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ พอใช้
๑.๐๐-๑.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปรับปรุง
วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมิน ได้ผลการประเมิน ดังนี้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
๑. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากกการสอบถามข้อคิดเห็นของผู้เข้าร่วมการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ จำนวน ๒๔ คน รายละเอียดดังนี้
ตารางที่ ๑ แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ
ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ
|
จำนวน (n=)
|
ร้อยละ
|
๑.๑ เพศ
๑) เพศหญิง
|
๒๔
|
๑๐๐
|
รวม
|
๒๔
|
๑๐๐
|
ตารางที่ ๑ แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านอายุ และระดับการศึกษา
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
|
จำนวน(n=)
|
ร้อยละ
|
๑.๒ อายุ
๑) อายุ ๑๕-๒๔ ปี
๒) ๒๕-๓๕ ปี
๓) ๓๖-๔๕ ปี
๔) ๔๖-๕๕ ปี
๕) ๕๖ ปีขึ้นไป
|
-
๓
๔
๑๗
-
|
-
๑๒.๕
๑๖.๖๗
๗๐.๘๓
-
|
รวม
|
๒๔
|
๑๐๐
|
๑.๓ ระดับการศึกษา
๑) ประถมศึกษา
๒) มัธยมศึกษาตอนต้น
๓) มัธยมศึกษาตอนปลาย
|
-
๑๒
๑๒
|
-
๕๐
๕๐
|
รวม
|
๒๔
|
๑๐๐
|
จากตารางที่ ๑ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ ๑๐๐
ซึ่งส่วนใหญ่อายุระหว่าง ๔๖ – ๕๕ ปี ร้อยละ ๗๐.๘๓ ส่วนใหญ่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ร้อยละ ๕๐
๒. ระดับความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ตอนที่ ๒ แสดงระดับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินการจัดกิจกรรม ปรากฏผลดังตารางที่ ๒
ตารางที่ ๒ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินการจัดกิจกรรมต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๑.
|
รูปแบบและขั้นตอนในการดำเนินการจัดกิจกรรม
|
๔.๓๕
|
๐.๘๔
|
มาก
|
๒.
|
สามารถอธิบายเนื้อหาได้จัดเจนและตรงประเด็น
|
๔.๒๓
|
๐.๗๕
|
มาก
|
๓.
|
ใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย
|
๔.๓๐
|
๐.๗๙
|
มาก
|
๔.
|
เอกสารประกอบการบรรยายเหมาะสม
|
๔.๑๒
|
๐.๗๐
|
มาก
|
รวม
|
๔.๒๕
|
๐.๗๐
|
มาก
|
จากตารางที่ ๒ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๕ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๑๒ – ๔.๓๕ ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ รูปแบบและขั้นตอนในการดำเนินการจัดกิจกรรม (= ๔.๓๕)
ลำดับที่ ๒ สามารถอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนและตรงประเด็น (= ๔.๒๓)
ลำดับที่ ๓ ใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย (= ๔.๓๐)
ลำดับที่ ๔ เอกสารประกอบการบรรยายเหมาะสม (= ๔.๑๒)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านวิทยากร ปรากฏผลดังตารางที่ ๓
ตารางที่ ๓ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านวิทยากรต่อการจัด โครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๕.
|
ความเหมาะสมด้านเนื้อหากับเป้าหมาย
|
๔.๒๑
|
๐.๗๓
|
มาก
|
๖.
|
ความรู้ของผู้อบรม/ผู้บรรยาย
|
๔.๑๑
|
๐.๗๔
|
มาก
|
๗.
|
การเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้แสดงความคิดเห็น
|
๔.๑๕
|
๐.๗๔
|
มาก
|
๘.
|
การตอบข้อซักถาม ตรงประเด็น เข้าใจง่าย
|
๔.๐๖
|
๐.๗๔
|
มาก
|
จากตารางที่ ๓ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านวิทยากร อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๓ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๐๖ – ๔.๒๑ ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ ความเหมาะสมด้านเนื้อหากับเป้าหมาย (=๔.๒๑)
ลำดับที่ ๒ การเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้แสดงความคิดเห็น (= ๔.๑๕)
ลำดับที่ ๓ ความรู้ของผู้อบรม/ผู้บรรยาย (= ๔.๑๑)
ลำดับที่ ๔ การตอบข้อซักถาม ตรงประเด็น เข้าใจง่าย (= ๔.๐๖)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านสถานที่/ระยะเวลา/ ปรากฏผลดังตารางที่ ๔
ตารางที่ ๔ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านความรู้ความเข้าใจ ต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๙
|
ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
|
๔.๑๕
|
๐.๗๗
|
มาก
|
๑๐
|
ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
|
๔.๑๕
|
๐.๗๓
|
มาก
|
๑๑
|
ความรู้ความเข้าใจเรื่องการจบหลักสูตร
|
๔.๑๒
|
๐.๖๙
|
มาก
|
๑๒
|
สามารถนำความรู้ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
|
๔.๒๑
|
๐.๗๒
|
มาก
|
๑๓
|
สามารถนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
|
๔.๐๙
|
๐.๖๘
|
มาก
|
๑๔
|
สามารถจัดระบบความคิด/ประมวลความคิดสู่การพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
|
๔.๑๔
|
๐.๗๕
|
มาก
|
รวม
|
๔.๑๔
|
๐.๗๒
|
มาก
|
จากตารางที่ ๔ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านความรู้ความเข้าใจ อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๔ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๐๙ – ๔.๒๑ ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (= ๔.๒๑)
ลำดับที่ ๒ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ และความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจบหลักสูตร (=๔.๑๕)
ลำดับที่ ๓ สามารถจัดระบบความคิด/ประมวลความคิดสู่การพัฒนางานอย่างเป็นระบบ (= ๔.๑๔)
ลำดับที่ ๔ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (= ๔.๑๒)
ลำดับที่ ๕ สามารถนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้(= ๔.๐๙)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านการนำไปใช้ ปรากฏผลดังตารางที่ ๕
ตารางที่ ๕ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านการนำไปใช้ ต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๑๕.
|
สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนและปฏิบัติงานได้
|
๔.๒๔
|
๐.๗๓
|
มาก
|
๑๖.
|
สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้
|
๔.๑๙
|
๐.๖๖
|
มาก
|
รวม
|
๔.๒๑
|
๐.๗๐
|
มาก
|
จากตารางที่ ๕ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านการนำไปใช้ อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๑ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๑๙ – ๔.๒๔ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนและปฏิบัติงานได้ (= ๔.๒๔)
ลำดับที่ ๒ สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ / ถ่ายทอดแก่ชุมชนได้ (= ๔.๑๙)
ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
เมื่อคณะกรรมการฝ่ายประเมินผลแล้วจึงได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะและได้นำสารสนเทศที่ได้นำเสนอต่อผู้บริหารและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบและนำผลการทำเนินงานมากปรับปรุงพัฒนาการงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
บทที่ ๔
สรุปผล และข้อเสนอแนะ
ผลการจัดกิจกรรม ตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ได้ผลสรุปดังนี้
๑. วัตถุประสงค์
๒. เป้าหมาย
๓. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
๔. การเก็บรวบรวมข้อมูล
๕. สรุปผลการดำเนินการ
๖. ข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
๑. ประชาชนทั่วไป ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จำนวน ๒๔ คน
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้
๑. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่มีต่อการจัดกิจกรรม ภายใต้โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ในภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
การเก็บรวบรวมข้อมูล
มีขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
๑. ผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมแจกแบบสอบถามความคิดเห็นให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวของ
แต่ละกิจกรรมประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
สรุปผลการดำเนินการ
๑. ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๕ ภายใต้โครงการโดยดำเนินการแล้วเสร็จและสรุปรายงานต่อผู้บริหารทั้งสิ้น จำนวน ๑ กิจกรรม ได้แก่ สรุปโดยภาพรวม พบว่า การจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมที่จัดขึ้นภายใต้โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ในภาคเรียนที่๑/๒๕๖๕ สำเร็จลุล่วงด้วยดีจากการสอบถามความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในแต่ละกิจกรรม พบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องส่วนใหญ่มีความความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัญหา/ข้อเสนอแนะ
๑. ควรมีแผนการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ต่อไป
๒. ควรจัดทำเป็นหลักสูตรโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
ภาคผนวก
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
๑. ชื่อโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
๒. สอดคล้องกับ
2.1 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนไปสู่การจัดการความรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร
3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้ง ภาครัฐเอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
2.2 จุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ข้อ 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ
(2.1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับทุกช่วงวัยและ
การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่
ข้อ 4. ด้านการบริหารจัดการคุณภาพ
(4.10) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
หลักการและเหตุผล
การมีสุขภาวะที่ดีและมีสุขอนามัยดีด้วย ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทย แต่ปัจจุบัน สถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทั้งนี้สาเหตุ เนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทาง สังคม ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี(พ.ศ.2561 ถึงพ.ศ. 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยเน้นการสร้าง ความรู้ความเข้าใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะและสร้างเครือข่ายภาคประชาชน สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญและจําเป็น อย่างยิ่งต่อการพัฒนาการทุก ๆ ด้านในตัวบุคคล สุขภาพ ถือเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตปัจจุบัน สุขภาพวางอยู่บน ฐานที่ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะ ทั้งมิติทางกาย ทางใจ ทางสังคมและทางปัญญา (จิตวิญญาณ) การส่งเสริมสุขภาพเป็น กระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้ประชาชนมีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเป็นผลต่อสุข ภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิตใจและทางสังคม สุขภาพเป็นขุมพลังของชีวิต ของบุคคลและชุมชนในการควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ นอกจากนี้ปัจจุบันการสร้างเสริมสุขภาพไม่เป็นเพียงระบบย่อยของระบบสุขภาพแต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการ พัฒนาระบบสุขภาพสู่เป้าหมายในภาพรวม องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสุขภาพและระบบสุขภาพ จึงไม่ใช่เรื่องของ ระบบการแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องความร่วมมือกันของสังคม บทบาทที่สำคัญของครูและบุคลากร กศน. จึงจำเป็นต้องร่วมสร้างค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้บุคคลมีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ด้วยการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย และ เอื้อต่อการมีสุขภาพดีสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ร่วมสร้างวัฒนธรรมของการดำเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น และร่วมกันสร้างสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีสันติสุข จากที่กล่าวมาข้างต้น
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองขอนแก่น ได้เห็นความจำเป็นและความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องต่อไป
๔. วัตถุประสงค์
4.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
4.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๕. เป้าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
จัดกิจกรรมรส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชนสำหรับประชาชนทั่วไปในกศน.ตำบลบ้านทุ่มอำเภอเมืองขอนแก่น จำนวน 24 คน
๕.๒ เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๖. วิธีดำเนินงาน
กิจกรรมหลัก
|
วัตถุประสงค์
|
กลุ่ม
เป้าหมาย
|
เป้าหมาย
|
พื้นที่ดำเนินการ
|
ระยะเวลา
|
งบประมาณ
|
๑.ขั้นเตรียมการ
1) สำรวจชุมชน/ความต้องการของชุมชน
2) วางแผนการดำเนินงานของโครงการ
|
เพื่อจัดทำแผนงานโครงการ/กิจกรรมและกรอบการดำเนินงาน
|
บุคลากร
|
จำนวน ๘ คน
|
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
อำเภอเมืองขอนแก่น
|
20มิถุนายน 2565
|
-
|
๒.ขั้นปฏิบัติการ
1) จัดทำโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน 1.1 กิจกรรมบรรยายให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน 1.2 สาธิตการทำการออกกำลังกายด้วยท่าจี้กง 1.3 ลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.4 สรุปผลการดำเนินงาน
|
-เพื่อให้ประชาชนความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุข
อนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
-เพื่อให้ประชาชนทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
|
ประชาชน
|
จำนวน 24 คน
|
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
อำเภอเมืองขอนแก่น
|
28มิถุนายน 2565
|
4,000บาท
|
๓.ขั้นสรุปผลและประเมินผลโครงการ
1) วิเคราะห์และประเมินผลโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
2) รายงานผลการดำเนินงาน
|
เพื่อทราบความสำเร็จของโครงการ
|
บุคลากร
|
จำนวน
๘ คน
|
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
อำเภอเมืองขอนแก่น
|
29มิถุนายน 2565
|
-
|
๗. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ
ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบล งบดำเนินงาน เพื่อเป็นค่าจัดกิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบล “ประจำไตรมาสที่3” รหัสงบประมาณ 20002360005002000000 เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย จำนวน 4,000 บาท ( สี่พันบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้
๗.๑ ค่าอาหารกลางวัน ( 24 คน x 75 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 1,800 บาท
7.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 24 คน x ๒5 บาท x 2 มื้อ ) จำนวน 1,200 บาท
7.3 ค่าตอบแทนวิทยากร ( 1 คน x 200 บาท x 5 ชม.) จำนวน 1,000 บาท
7.4 ค่าวัสดุ จำนวน - บาท
รวมทั้งสิ้น จำนวน 4,000 บาท ( สี่พันบาทถ้วน)
๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
กิจกรรมหลัก
|
ช่วงระยะเวลา
|
รวมเงินงบประมาณ
(บาท)
|
ไตรมาส ๑
(ต.ค.–ธ.ค.64)
|
ไตรมาส
(ม.ค.–มี.ค.๖5)
|
ไตรมาส ๓
(เม.ย.–มิ.ย.๖5)
|
ไตรมาส ๔
(ก.ค.–ก.ย.๖5)
|
ดำเนินโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
1.1 บรรยายให้ความรู้
1.2 วิทยากรบรรยายให้ความรู้
- เรื่อง ความหมายของโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง
- เรื่อง สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง และถ้ามีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวทาง ปฏิบัติการจัดการตนเอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของชุมชนอย่างไรบ้าง
1.3 ลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1.4 สรุปผลการดำเนินงาน
|
-
|
-
|
4,000 บาท
|
-
|
4,000 บาท
|
รวมเงินงบประมาณ
|
-
|
-
|
4,000 บาท
|
-
|
4,000 บาท
|
๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ
๙.๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอขอนแก่น ที่ปรึกษา
๙.๒ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
๑๐.เครือข่าย
๑0.1 ผู้นำชุมชน
๑0.2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
10.3 เทศบาลเมืองบ้านทุ่ม
10.4 อสม.
๑๑.โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
๑๑.๑ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
๑๒. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome)
- ประชาชนมีความรู้จากกระบวนการฝึกปฏิบัติจริงเพื่อเป็นการบูรณาการกับการดำเนินวิถีชีวิตของตนเองได้ ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนได้มีอาชีพเสริมจากการเกษตรเพิ่มรายได้และสร้างความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑๓. ดัชนีตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ
๑๓.๑ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง
๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน
- ผู้เข้าร่วมมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุข ภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและ ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
14. การติดตามประเมินผลโครงการ
๑4.๑ แบบนิเทศติดตามงาน แบบสังเกตพฤติกรรม
๑4.๒ แบบสำรวจความพึงพอใจ
กำหนดการ
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
วันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2565
ณ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
------------------------------------------------------------------------
เวลา ๐๗.๓0 - ๐๘.๐0 น. ลงทะเบียน
เวลา ๐๘.๑๕ – ๐๘.๓๐ น. พิธีเปิด
เวลา ๐๘.๓๐ - ๐๙.00 น. ทำแบบทดสอบ
เวลา 09.00 - ๑๒.00 น. กิจกรรมที่ 1 การบรรยายเนื้อหา
เรื่อง ความหมายของโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ธรรมชาติวิทยาของการเกิด โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยนางอรุณศรี วงศ์หนองแล้ง
เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 13.30 น. กิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่การบรรยาย (นันทนาการ)
โดย บุคลากร กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น
เวลา 1๓.30 – 1๔.๓0 น. กิจกรรมที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่อง ธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โดยนางอรุณศรี วงศ์หนองแล้ง
เวลา 1๔.๓0 – 1๕.๓0 น. กิจกรรมที่ 3 การบรรยายเนื้อหา/แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่อง การป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระดับตำบล ให้แบ่งกลุ่มๆ 6 - 7 คน เพื่อให้ปรึกษาหารือว่าในตำบลของ ท่านจะมีวิธีการดำเนินงานการ ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างไร และถ้ามีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวทาง ปฏิบัติการจัดการตนเอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของชุมชนอย่างไรบ้าง
โดย นางอรุณศรี วงศ์หนองแล้ง
เวลา 1๕.๓0 – 1๖.๓0 น. กิจกรรมที่ ๔ แลกเปลี่ยนเรียนรู้/เสวนา
เรื่อง ความรู้ที่ได้รับจาการอบรมในครั้งนี้
เวลา 1๖.๓0 – 1๗.๐0 น. ทำแบบทดสอบหลังการอบรม
ภาพประกอบกิจกรรม
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕
พิธีเปิดโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
โดยนางไพฑูรย์ โพธ์นาง ประธานสถานศึกษา กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
วิทยากรให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
กิจกรรมนันทนาการ
การบริหารกายด้วย ท่าชี่กง
การบริหารกายด้วย ท่าชี่กง
คณะผู้จัดทำ
ที่ปรึกษา
๑. นางกัญญา โสมคำ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
๒. นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ครู
๓. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ครู
๔. นางสาวมัณฑนา มูลกัณฐ์ ครู
๕. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย บรรณารักษ์ชำนาญการ
คณะทำงาน
๑. นายบรรเจิด แสนเหลา ครูอาสาสมัครฯ/ที่ปรึกษาโซนห้วยน้ำเค็ม
๒. นางมลิวัลย์ อยู่สุข หัวหน้า ครู กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
๓. นายกาญจนพันธ์ ลาสอน หัวหน้า ครู กศน.ตำบลแดงใหญ่
๔. นายเฉลิมชัย แน่นอุดร หัวหน้า ครู กศน.ตำบลสาวะถี
๕. นางสาวกฤติยาภรณ์ เทพชมภู ครู กศน.ตำบล
๖. นายสืบลาบ โพธิ์อ่อน ครู กศน.ตำบล
๗. นายนัฐพงษ์ สุวรรณวงศ์ ครูศูนย์การเรียนชุมชน
๘. นายสนธยา พานโน ครูศูนย์การเรียนชุมชน
ออกแบบภาพและจัดพิมพ์/สืบค้นข้อมูล/ตรวจอักษรและจัดทำรูปเล่ม
๑. นางมลิวัลย์ อยู่สุข ครู กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
๒. นางสาวกฤติยาภรณ์ เทพชมภู ครู กศน.ตำบล
๓. นายนัฐพงษ์ สุวรรณวงศ์ ครูศูนย์การเรียนชุมชน
คำนำ
รายงานผลการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชนฉบับนี้ เป็นการรวบรวมผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ จัดทำขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
ขอขอบคุณผู้อำนวยการ ขอขอบคุณคณะกรรมการฝ่ายประเมินและสรุปผลทุกท่านที่เสียสละเวลา กำลังกาย และกำลังใจ จนทำให้การประเมินโครงการครั้งนี้สำเร็จลุล่วงด้วยดี
คณะผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประเมินผลการดำเนินโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ฉบับนี้จะสามารถเป็นข้อมูลในการพัฒนา กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น อย่างเต็มรูปแบบต่อไป
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น
สารบัญ
หน้า
บทที่ ๑ บทนำ ๔
ความเป็นมาและความสำคัญ วัตถุประสงค์ ขอบเขตเนื้อหา
บทที่ ๒ วิธีการดำเนินงาน ๖
ขั้นตอนการดำเนินงาน
- ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
- ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
- ขั้นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check
- ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
บทที่ ๓ ผลการดำเนินการและวิเคราะห์ข้อมูล ๘
ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย :
การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
บทที่ ๔ สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๑๔ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูล
สรุปผลการดำเนินการ
ปัญหา/ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก
- โครงการ
- เอกสารประกอบอื่นๆ
- คณะทำงาน
บทที่ ๑
บทนำ
๑.๑ ความเป็นมาและความสำคัญ
การมีสุขภาวะที่ดีและมีสุขอนามัยดีด้วย ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทย แต่ปัจจุบัน สถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทั้งนี้สาเหตุ เนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทาง สังคม ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20ปี (พ.ศ.2561 ถึงพ.ศ. 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยเน้นการสร้าง ความรู้ความเข้าใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะและสร้างเครือข่ายภาคประชาชน สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญ และจําเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาการทุกๆด้านในตัวบุคคล สุขภาพ ถือเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตปัจจุบัน สุขภาพวางอยู่บน ฐานที่ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะ ทั้งมิติทางกาย ทางใจ ทางสังคมและทางปัญญา (จิตวิญญาณ) การส่งเสริมสุขภาพเป็น กระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้ประชาชนมีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเป็นผลต่อสุข ภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิตใจและทางสังคม สุขภาพเป็นขุมพลังของชีวิต ของบุคคลและชุมชนในการควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ นอกจากนี้ปัจจุบันการสร้างเสริมสุขภาพไม่เป็นเพียงระบบย่อยของระบบสุขภาพแต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการ พัฒนาระบบสุขภาพสู่เป้าหมายในภาพรวม องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสุขภาพและระบบสุขภาพ จึงไม่ใช่เรื่องของ ระบบการแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องความร่วมมือกันของสังคม บทบาทที่สำคัญของครูและบุคลากร กศน. จึงจำเป็นต้องร่วมสร้างค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้บุคคลมีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ด้วยการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย และ เอื้อต่อการมีสุขภาพดีสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ร่วมสร้างวัฒนธรรมของการดำเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น และร่วมกันสร้างสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีสันติสุข จากที่กล่าวมาข้างต้น
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองขอนแก่น ได้เห็นความจำเป็นและความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องต่อไป
๑.๒ วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๑.๓ เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
๑. ประชาชนทั่วไปตำบลบ้านทุ่ม ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น จำนวน ๒๔ คน
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๑.๔ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้
๑. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่มีต่อการจัดกิจกรรม ภายใต้โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
๑.๕ ขอบเขตของการดำเนินโครงการ
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
จัดทำขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๑.๖ ระยะเวลาการดำเนินโครงการ
วันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕
บทที่ ๒
วิธีดำเนินการ
รายงานผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ ได้นำวงจรคุณภาพของเดมิ่ง PDCA มาใช้ในการดำเนินการ ๔ ขั้นตอนดังนี้
๑. ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
๒. ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
๓. ขั้นตอนการ่วมกันประเมิน ( Check )
๔. ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
๑. ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการดำเนินการโดยมีขั้นตอน ดังนี้
๑.๑ ประชุมปรึกษาร่วมกัน
๑.๒ จัดทำโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ เสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบ
๑.๓ แต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่กิจกรรมตามความเหมาะสม
๑.๔ จัดทำหลักสูตร
๑.๕ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั้งด้านสถานที่ พาหนะในการเดินทาง(ถ้ามี)
๑.๖ กำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ และวิธีประเมินผล
๒. ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน ดังนี้
๒.๑ บันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุญาตดำเนินการ
๒.๒ ดำเนินการตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ในวันที่ ๑๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ สถานที่ ศาลาชุมชนโนนทัน๑ โดยมีกลุ่มเป้าหมายประชาชนทั่วไป ตำบลบ้านทุ่ม จำนวน ๒๔ คน โดยมีกิจกรรมดำเนินการดังนี้
๒.๒.๑ จัดตั้งโครงการฯนำเสนอเพื่อพิจารณาอนุมัติ
๒.๒.๒ ประชาชนทั่วไป ตำบลบ้านทุ่ม เข้าร่วมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๓. ขั้นตอนการร่วมกันประเมิน ( Check )
๓.๑ ดำเนินการประเมินผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ โดยใช้แบบทดสอบถามความคิดเห็น
๓.๒ ข้อมูลที่เป็นมาตราส่วนประมาณค่า ( Rating Scale ) ใช้วิธีแจกแจงความถี่ หาค่าเฉลี่ย (X) และค่าร้อยละ ทั้งในรายข้อและภาพรวมเทียบกับเกณฑ์ ดังนี้
๔.๕๑-๕.๐๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุด
๓.๕๑-๔.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับมาก
๒.๕๑-๓.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง
๑.๕๑-๒.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับน้อย
๑.๐๐-๑.๕๐ หมายถึง มีความเหมาะสม/การปฏิบัติอยู่ในระดับน้อยที่สุด
๓.๓ ข้อมูลที่เป็นความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากแบบบันทึกกิจกรรม ใช้วิธี วิเคราะห์เนื้อเรื่อง ( Content Analysis )
๓.๔ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
๑. ค่าเฉลี่ย (Arithmetic: X )
๒. ค่าร้อยละ
๓.๕ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บริหารและบุคลากร กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
๔. ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
เมื่อคณะกรรมการฝ่ายประเมินผล สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะผู้รับผิดชอบจึงได้นำสารสนเทศที่ได้มาปรับปรุง พัฒนาการงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
บทที่ ๓
ผลการดำเนินการและวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการจัดกิจกรรมตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ สามารถสรุปตามขั้นตอนในการดำเนินงาน ดังนี้
ผลการดำเนินงาน
ขั้นตอนการร่วมกันวางแผน (Plan)
ขั้นตอนนี้เป็นการวางแผนการดำเนินการโดยมีขั้นตอน พบว่า การประชุมปรึกษาร่วมกันระหว่างบุคลากร กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ทุกคนได้รับความร่วมมือและสนับสนุนการทำโครงการเป็นอย่างดี และนำเสนอผู้บริหารเพื่อพิจารณาเห็นชอบโครงการได้รับการอนุมัติโครงการ ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมแต่ละงานแต่กิจกรรมตามความเหมาะสม แล้วสร้างความเข้าใจกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อกำหนดแนวทางในการดำเนินการ ติดต่อประสานงานเตรียมความพร้อม ทั้งด้านสถานที่ พาหนะในการเดินทาง และกำหนดระยะเวลาในการดำเนินการ และวิธีประเมินผล ตามลำดับ
ขั้นตอนการร่วมกันปฏิบัติ ( Do)
การปฏิบัติงานตามแผนงานที่วางไว้โดยมีขั้นตอนในการดำเนินงาน คือ การบันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อขออนุญาตดำเนินการ พบว่า ได้รับการอนุญาตและให้ดำเนินการ และผลการดำเนินการตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ในวันที่ ๒๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ ณ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม จำนวน ๒๔ คน พบว่า กิจกรรมอบรมการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ผู้เข้าร่วมโครงการให้ความร่วมมือในการดำเนินกิจกรรมด้วยดี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมให้ความสนใจโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
ขั้นตอนการร่วมกันประเมิน ( Check )
การประเมินผลการจัดกิจกรรมตามการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็น พบว่าวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ( x ) และค่าร้อยละ จากแบบสอบถาม โดยแปลความหมายดังต่อไปนี้
๔.๕๑-๕.๐๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มากที่สุด
๓.๕๑-๔.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ มาก
๒.๕๑-๓.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปานกลาง
๑.๕๑-๒.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ พอใช้
๑.๐๐-๑.๕๐ หมายความว่า ระดับความคิดเห็น ในระดับ ปรับปรุง
วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมิน ได้ผลการประเมิน ดังนี้
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
๑. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากกการสอบถามข้อคิดเห็นของผู้เข้าร่วมการจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ จำนวน ๒๔ คน รายละเอียดดังนี้
ตารางที่ ๑ แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านเพศ
ข้อมูลพื้นฐานของผู้ประเมินความพึงพอใจ
|
จำนวน (n=)
|
ร้อยละ
|
๑.๑ เพศ
๑) เพศหญิง
|
๒๔
|
๑๐๐
|
รวม
|
๒๔
|
๑๐๐
|
ตารางที่ ๑ แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านอายุ และระดับการศึกษา
ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
|
จำนวน(n=)
|
ร้อยละ
|
๑.๒ อายุ
๑) อายุ ๑๕-๒๔ ปี
๒) ๒๕-๓๕ ปี
๓) ๓๖-๔๕ ปี
๔) ๔๖-๕๕ ปี
๕) ๕๖ ปีขึ้นไป
|
-
๓
๔
๑๗
-
|
-
๑๒.๕
๑๖.๖๗
๗๐.๘๓
-
|
รวม
|
๒๔
|
๑๐๐
|
๑.๓ ระดับการศึกษา
๑) ประถมศึกษา
๒) มัธยมศึกษาตอนต้น
๓) มัธยมศึกษาตอนปลาย
|
-
๑๒
๑๒
|
-
๕๐
๕๐
|
รวม
|
๒๔
|
๑๐๐
|
จากตารางที่ ๑ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิง ร้อยละ ๑๐๐
ซึ่งส่วนใหญ่อายุระหว่าง ๔๖ – ๕๕ ปี ร้อยละ ๗๐.๘๓ ส่วนใหญ่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ร้อยละ ๕๐
๒. ระดับความพึงพอใจต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ตอนที่ ๒ แสดงระดับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินการจัดกิจกรรม ปรากฏผลดังตารางที่ ๒
ตารางที่ ๒ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินการจัดกิจกรรมต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๑.
|
รูปแบบและขั้นตอนในการดำเนินการจัดกิจกรรม
|
๔.๓๕
|
๐.๘๔
|
มาก
|
๒.
|
สามารถอธิบายเนื้อหาได้จัดเจนและตรงประเด็น
|
๔.๒๓
|
๐.๗๕
|
มาก
|
๓.
|
ใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย
|
๔.๓๐
|
๐.๗๙
|
มาก
|
๔.
|
เอกสารประกอบการบรรยายเหมาะสม
|
๔.๑๒
|
๐.๗๐
|
มาก
|
รวม
|
๔.๒๕
|
๐.๗๐
|
มาก
|
จากตารางที่ ๒ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการดำเนินการจัดกิจกรรม อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๕ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๑๒ – ๔.๓๕ ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ รูปแบบและขั้นตอนในการดำเนินการจัดกิจกรรม (= ๔.๓๕)
ลำดับที่ ๒ สามารถอธิบายเนื้อหาได้ชัดเจนและตรงประเด็น (= ๔.๒๓)
ลำดับที่ ๓ ใช้ภาษาที่เหมาะสมและเข้าใจง่าย (= ๔.๓๐)
ลำดับที่ ๔ เอกสารประกอบการบรรยายเหมาะสม (= ๔.๑๒)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านวิทยากร ปรากฏผลดังตารางที่ ๓
ตารางที่ ๓ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านวิทยากรต่อการจัด โครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๕.
|
ความเหมาะสมด้านเนื้อหากับเป้าหมาย
|
๔.๒๑
|
๐.๗๓
|
มาก
|
๖.
|
ความรู้ของผู้อบรม/ผู้บรรยาย
|
๔.๑๑
|
๐.๗๔
|
มาก
|
๗.
|
การเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้แสดงความคิดเห็น
|
๔.๑๕
|
๐.๗๔
|
มาก
|
๘.
|
การตอบข้อซักถาม ตรงประเด็น เข้าใจง่าย
|
๔.๐๖
|
๐.๗๔
|
มาก
|
จากตารางที่ ๓ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านวิทยากร อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๓ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๐๖ – ๔.๒๑ ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ ความเหมาะสมด้านเนื้อหากับเป้าหมาย (=๔.๒๑)
ลำดับที่ ๒ การเปิดโอกาสให้ผู้เข้าร่วมได้แสดงความคิดเห็น (= ๔.๑๕)
ลำดับที่ ๓ ความรู้ของผู้อบรม/ผู้บรรยาย (= ๔.๑๑)
ลำดับที่ ๔ การตอบข้อซักถาม ตรงประเด็น เข้าใจง่าย (= ๔.๐๖)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านสถานที่/ระยะเวลา/ ปรากฏผลดังตารางที่ ๔
ตารางที่ ๔ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านความรู้ความเข้าใจ ต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๙
|
ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
|
๔.๑๕
|
๐.๗๗
|
มาก
|
๑๐
|
ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
|
๔.๑๕
|
๐.๗๓
|
มาก
|
๑๑
|
ความรู้ความเข้าใจเรื่องการจบหลักสูตร
|
๔.๑๒
|
๐.๖๙
|
มาก
|
๑๒
|
สามารถนำความรู้ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
|
๔.๒๑
|
๐.๗๒
|
มาก
|
๑๓
|
สามารถนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้
|
๔.๐๙
|
๐.๖๘
|
มาก
|
๑๔
|
สามารถจัดระบบความคิด/ประมวลความคิดสู่การพัฒนางานอย่างเป็นระบบ
|
๔.๑๔
|
๐.๗๕
|
มาก
|
รวม
|
๔.๑๔
|
๐.๗๒
|
มาก
|
จากตารางที่ ๔ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านความรู้ความเข้าใจ อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๑๔ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๐๙ – ๔.๒๑ ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (= ๔.๒๑)
ลำดับที่ ๒ ความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ และความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจบหลักสูตร (=๔.๑๕)
ลำดับที่ ๓ สามารถจัดระบบความคิด/ประมวลความคิดสู่การพัฒนางานอย่างเป็นระบบ (= ๔.๑๔)
ลำดับที่ ๔ สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (= ๔.๑๒)
ลำดับที่ ๕ สามารถนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้(= ๔.๐๙)
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจเกี่ยวกับโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านการนำไปใช้ ปรากฏผลดังตารางที่ ๕
ตารางที่ ๕ แสดงค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับความพึงพอใจด้านการนำไปใช้ ต่อการจัดโครงการ/กิจกรรมนี้
ข้อที่
|
ความพึงพอใจ
|
|
S.D.
|
แปลผล
|
๑๕.
|
สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนและปฏิบัติงานได้
|
๔.๒๔
|
๐.๗๓
|
มาก
|
๑๖.
|
สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ได้
|
๔.๑๙
|
๐.๖๖
|
มาก
|
รวม
|
๔.๒๑
|
๐.๗๐
|
มาก
|
จากตารางที่ ๕ พบว่า ความพึงพอใจในการกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ด้านการนำไปใช้ อยู่ในระดับ มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ ๔.๒๑ เมื่อพิจารณาความพึงพอใจเป็นรายข้อ ปรากฏว่า มีค่าคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง ๔.๑๙ – ๔.๒๔ซึ่งสามารถเรียงลำดับค่าคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้
ลำดับที่ ๑ สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนและปฏิบัติงานได้ (= ๔.๒๔)
ลำดับที่ ๒ สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่ / ถ่ายทอดแก่ชุมชนได้ (= ๔.๑๙)
ขั้นตอนการร่วมปรับปรุง ( Act)
เมื่อคณะกรรมการฝ่ายประเมินผลแล้วจึงได้จัดทำสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะและได้นำสารสนเทศที่ได้นำเสนอต่อผู้บริหารและเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบและนำผลการทำเนินงานมากปรับปรุงพัฒนาการงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
บทที่ ๔
สรุปผล และข้อเสนอแนะ
ผลการจัดกิจกรรม ตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ได้ผลสรุปดังนี้
๑. วัตถุประสงค์
๒. เป้าหมาย
๓. เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
๔. การเก็บรวบรวมข้อมูล
๕. สรุปผลการดำเนินการ
๖. ข้อเสนอแนะ
วัตถุประสงค์
๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
เป้าหมาย
เชิงปริมาณ
๑. ประชาชนทั่วไป ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จำนวน ๒๔ คน
เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ในครั้งนี้
๑. แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่มีต่อการจัดกิจกรรม ภายใต้โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ในภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
การเก็บรวบรวมข้อมูล
มีขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
๑. ผู้รับผิดชอบในแต่ละกิจกรรมแจกแบบสอบถามความคิดเห็นให้ผู้เข้าร่วมโครงการ ผู้มีส่วนเกี่ยวของ
แต่ละกิจกรรมประเมินผลการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
สรุปผลการดำเนินการ
๑. ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ตามแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๕ ภายใต้โครงการโดยดำเนินการแล้วเสร็จและสรุปรายงานต่อผู้บริหารทั้งสิ้น จำนวน ๑ กิจกรรม ได้แก่ สรุปโดยภาพรวม พบว่า การจัดกิจกรรมทุกกิจกรรมที่จัดขึ้นภายใต้โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ในภาคเรียนที่๑/๒๕๖๕ สำเร็จลุล่วงด้วยดีจากการสอบถามความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในแต่ละกิจกรรม พบว่าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องส่วนใหญ่มีความความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ปัญหา/ข้อเสนอแนะ
๑. ควรมีแผนการจัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ ต่อไป
๒. ควรจัดทำเป็นหลักสูตรโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัย : การดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕
ภาคผนวก
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
๑. ชื่อโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
๒. สอดคล้องกับ
2.1 กรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561 - 2580)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
3.3 ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับทุกคน สามารถ เรียนได้ทุกที่ทุกเวลา มีกิจกรรมที่หลากลาย น่าสนใจ สนองตอบความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาศักยภาพ การเรียนรู้ของประชาชน รวมทั้งใช้ประโยชน์จากประชาชนในชุมชนในการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อเชื่อมโยง ความสัมพันธ์ของคนในชุมชนไปสู่การจัดการความรู้ของชุมชนอย่างยั่งยืน 1) ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝังคุณธรรม สร้างวินัย จิตสาธารณะ ความรับผิดชอบ ต่อส่วนรวม และการมีจิตอาสา ผ่านกิจกรรมรูปแบบต่าง ๆ อาทิ กิจกรรมลูกเสือ กศน. กิจกรรมจิตอาสา ตลอดจนสนับสนุนให้มีการจัดกิจกรรมเพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้กับบุคลากรในองค์กร
3.4 เสริมสร้างความร่วมมือกับภาคีเครือข่าย ประสาน ส่งเสริมความร่วมมือภาคีเครือข่าย ทั้ง ภาครัฐเอกชน ประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อสร้างความเข้าใจ และให้เกิดความร่วมมือในการส่งเสริม สนับสนุน และจัดการศึกษาและการเรียนรู้ให้กับ ประชาชนอย่างมีคุณภาพ
2.2 จุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ข้อ 2. ด้านการสร้างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ
(2.1) ส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ที่เน้นการพัฒนาทักษะที่จำเป็นสำหรับทุกช่วงวัยและ
การจัดการศึกษาและการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มเป้าหมายและบริบทพื้นที่
ข้อ 4. ด้านการบริหารจัดการคุณภาพ
(4.10) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน เพื่อสร้างความพร้อมในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยและการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับประชาชน
หลักการและเหตุผล
การมีสุขภาวะที่ดีและมีสุขอนามัยดีด้วย ถือเป็นลักษณะอันพึงประสงค์ประการแรกของคนไทย แต่ปัจจุบัน สถานการณ์ปัญหาสุขภาพและการสาธารณสุขได้เปลี่ยนแปลงไปตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีทั้งนี้สาเหตุ เนื่องมาจากการมีพฤติกรรมสุขภาวะที่ไม่ถูกต้องของบุคคลตลอดจนปัญหาสภาพแวดล้อมทั้งทางกายภาพและทาง สังคม ซึ่งสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ชาติ20 ปี(พ.ศ.2561 ถึงพ.ศ. 2580) ยุทธศาสตร์ที่ 3 ด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ให้มีคุณภาพส่งเสริมการพัฒนาสุขภาวะของประชาชนทุกวัย โดยเน้นการสร้าง ความรู้ความเข้าใจ การสนับสนุนกิจกรรมสุขภาวะและสร้างเครือข่ายภาคประชาชน สุขภาพเป็นสิ่งสำคัญและจําเป็น อย่างยิ่งต่อการพัฒนาการทุก ๆ ด้านในตัวบุคคล สุขภาพ ถือเป็นรากฐานที่สำคัญของชีวิตปัจจุบัน สุขภาพวางอยู่บน ฐานที่ว่าด้วยเรื่องสุขภาวะ ทั้งมิติทางกาย ทางใจ ทางสังคมและทางปัญญา (จิตวิญญาณ) การส่งเสริมสุขภาพเป็น กระบวนการเพิ่มสมรรถนะให้ประชาชนมีความสามารถในการควบคุมและพัฒนาสุขภาพตนเอง อันจะเป็นผลต่อสุข ภาวะที่สมบูรณ์ทางกาย ทางจิตใจและทางสังคม สุขภาพเป็นขุมพลังของชีวิต ของบุคคลและชุมชนในการควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ นอกจากนี้ปัจจุบันการสร้างเสริมสุขภาพไม่เป็นเพียงระบบย่อยของระบบสุขภาพแต่เป็นองค์ประกอบสำคัญของการ พัฒนาระบบสุขภาพสู่เป้าหมายในภาพรวม องค์ความรู้เพื่อการพัฒนาสุขภาพและระบบสุขภาพ จึงไม่ใช่เรื่องของ ระบบการแพทย์เพียงอย่างเดียว แต่เป็นเรื่องความร่วมมือกันของสังคม บทบาทที่สำคัญของครูและบุคลากร กศน. จึงจำเป็นต้องร่วมสร้างค่านิยมที่ถูกต้องเกี่ยวกับสุขภาพด้วยการสร้างเสริมสุขภาพ เพื่อให้บุคคลมีสุขภาพที่แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติสุข ด้วยการสร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัย และ เอื้อต่อการมีสุขภาพดีสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อสุขภาพ ร่วมสร้างวัฒนธรรมของการดำเนินชีวิตที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น และร่วมกันสร้างสังคมที่อยู่ร่วมกันอย่างมีสันติสุข จากที่กล่าวมาข้างต้น
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองขอนแก่น ได้เห็นความจำเป็นและความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดกิจกรรมโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน ตลอดจนมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้องต่อไป
๔. วัตถุประสงค์
4.1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
4.2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๕. เป้าหมาย
๕.๑ เชิงปริมาณ
จัดกิจกรรมรส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชนสำหรับประชาชนทั่วไปในกศน.ตำบลบ้านทุ่มอำเภอเมืองขอนแก่น จำนวน 24 คน
๕.๒ เชิงคุณภาพ
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน มีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชนตลอดจนสามารถ ขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
๖. วิธีดำเนินงาน
กิจกรรมหลัก
|
วัตถุประสงค์
|
กลุ่ม
เป้าหมาย
|
เป้าหมาย
|
พื้นที่ดำเนินการ
|
ระยะเวลา
|
งบประมาณ
|
๑.ขั้นเตรียมการ
1) สำรวจชุมชน/ความต้องการของชุมชน
2) วางแผนการดำเนินงานของโครงการ
|
เพื่อจัดทำแผนงานโครงการ/กิจกรรมและกรอบการดำเนินงาน
|
บุคลากร
|
จำนวน ๘ คน
|
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
อำเภอเมืองขอนแก่น
|
20มิถุนายน 2565
|
-
|
๒.ขั้นปฏิบัติการ
1) จัดทำโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน 1.1 กิจกรรมบรรยายให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน 1.2 สาธิตการทำการออกกำลังกายด้วยท่าจี้กง 1.3 ลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1.4 สรุปผลการดำเนินงาน
|
-เพื่อให้ประชาชนความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาวะและสุข
อนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชน
-เพื่อให้ประชาชนทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และชุมชนตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
|
ประชาชน
|
จำนวน 24 คน
|
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
อำเภอเมืองขอนแก่น
|
28มิถุนายน 2565
|
4,000บาท
|
๓.ขั้นสรุปผลและประเมินผลโครงการ
1) วิเคราะห์และประเมินผลโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
2) รายงานผลการดำเนินงาน
|
เพื่อทราบความสำเร็จของโครงการ
|
บุคลากร
|
จำนวน
๘ คน
|
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
อำเภอเมืองขอนแก่น
|
29มิถุนายน 2565
|
-
|
๗. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ
ได้รับจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จากสำนักงาน กศน.จังหวัดขอนแก่น แผนงาน : พื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ผลผลิตที่ 5 ผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย กิจกรรมสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบล งบดำเนินงาน เพื่อเป็นค่าจัดกิจกรรมจัดสร้างแหล่งเรียนรู้ในระดับตำบล “ประจำไตรมาสที่3” รหัสงบประมาณ 20002360005002000000 เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย จำนวน 4,000 บาท ( สี่พันบาทถ้วน) รายละเอียดดังนี้
๗.๑ ค่าอาหารกลางวัน ( 24 คน x 75 บาท x 1 มื้อ) จำนวน 1,800 บาท
7.2 ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 24 คน x ๒5 บาท x 2 มื้อ ) จำนวน 1,200 บาท
7.3 ค่าตอบแทนวิทยากร ( 1 คน x 200 บาท x 5 ชม.) จำนวน 1,000 บาท
7.4 ค่าวัสดุ จำนวน - บาท
รวมทั้งสิ้น จำนวน 4,000 บาท ( สี่พันบาทถ้วน)
๘. แผนการใช้จ่ายงบประมาณ
กิจกรรมหลัก
|
ช่วงระยะเวลา
|
รวมเงินงบประมาณ
(บาท)
|
ไตรมาส ๑
(ต.ค.–ธ.ค.64)
|
ไตรมาส
(ม.ค.–มี.ค.๖5)
|
ไตรมาส ๓
(เม.ย.–มิ.ย.๖5)
|
ไตรมาส ๔
(ก.ค.–ก.ย.๖5)
|
ดำเนินโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
1.1 บรรยายให้ความรู้
1.2 วิทยากรบรรยายให้ความรู้
- เรื่อง ความหมายของโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง
- เรื่อง สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง และถ้ามีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวทาง ปฏิบัติการจัดการตนเอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของชุมชนอย่างไรบ้าง
1.3 ลงมือปฏิบัติและแลกเปลี่ยนเรียนรู้
1.4 สรุปผลการดำเนินงาน
|
-
|
-
|
4,000 บาท
|
-
|
4,000 บาท
|
รวมเงินงบประมาณ
|
-
|
-
|
4,000 บาท
|
-
|
4,000 บาท
|
๙. ผู้รับผิดชอบโครงการ
๙.๑ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอขอนแก่น ที่ปรึกษา
๙.๒ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
๑๐.เครือข่าย
๑0.1 ผู้นำชุมชน
๑0.2 ภูมิปัญญาท้องถิ่น
10.3 เทศบาลเมืองบ้านทุ่ม
10.4 อสม.
๑๑.โครงการ/กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
๑๑.๑ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
๑๒. ผลที่คาดว่าจะได้รับ (Outcome)
- ประชาชนมีความรู้จากกระบวนการฝึกปฏิบัติจริงเพื่อเป็นการบูรณาการกับการดำเนินวิถีชีวิตของตนเองได้ ส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนได้มีอาชีพเสริมจากการเกษตรเพิ่มรายได้และสร้างความเข้มแข็ง พึ่งพาตนเองได้ ตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑๓. ดัชนีตัวชี้วัดผลสำเร็จของโครงการ
๑๓.๑ ตัวชี้วัดผลผลิต (Output)
- ผู้เข้าร่วมโครงการสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้จริง
๑๓.๒ ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Outcome)
- ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการ ดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชน
- ผู้เข้าร่วมมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุข ภาวะและสุขอนามัยของตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดจนสามารถขยายผลไปยังคนในครอบครัวและ ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างถูกต้อง
14. การติดตามประเมินผลโครงการ
๑4.๑ แบบนิเทศติดตามงาน แบบสังเกตพฤติกรรม
๑4.๒ แบบสำรวจความพึงพอใจ
กำหนดการ
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
วันอังคารที่ 28 มิถุนายน 2565
ณ กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น
------------------------------------------------------------------------
เวลา ๐๗.๓0 - ๐๘.๐0 น. ลงทะเบียน
เวลา ๐๘.๑๕ – ๐๘.๓๐ น. พิธีเปิด
เวลา ๐๘.๓๐ - ๐๙.00 น. ทำแบบทดสอบ
เวลา 09.00 - ๑๒.00 น. กิจกรรมที่ 1 การบรรยายเนื้อหา
เรื่อง ความหมายของโรคไม่ ติดต่อเรื้อรัง สถานการณ์โรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง ธรรมชาติวิทยาของการเกิด โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยนางอรุณศรี วงศ์หนองแล้ง
เวลา 12.00 – 13.00 น. รับประทานอาหารกลางวัน
เวลา 13.00 – 13.30 น. กิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้าสู่การบรรยาย (นันทนาการ)
โดย บุคลากร กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น
เวลา 1๓.30 – 1๔.๓0 น. กิจกรรมที่ 2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่อง ธรรมชาติวิทยาของการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
โดยนางอรุณศรี วงศ์หนองแล้ง
เวลา 1๔.๓0 – 1๕.๓0 น. กิจกรรมที่ 3 การบรรยายเนื้อหา/แลกเปลี่ยนเรียนรู้
เรื่อง การป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ระดับตำบล ให้แบ่งกลุ่มๆ 6 - 7 คน เพื่อให้ปรึกษาหารือว่าในตำบลของ ท่านจะมีวิธีการดำเนินงานการ ป้องกันโรคไม่ติดต่อเรื้อรังอย่างไร และถ้ามีโรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีแนวทาง ปฏิบัติการจัดการตนเอง ปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของชุมชนอย่างไรบ้าง
โดย นางอรุณศรี วงศ์หนองแล้ง
เวลา 1๕.๓0 – 1๖.๓0 น. กิจกรรมที่ ๔ แลกเปลี่ยนเรียนรู้/เสวนา
เรื่อง ความรู้ที่ได้รับจาการอบรมในครั้งนี้
เวลา 1๖.๓0 – 1๗.๐0 น. ทำแบบทดสอบหลังการอบรม
ภาพประกอบกิจกรรม
โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
กศน.ตำบลบ้านทุ่ม อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๕
พิธีเปิดโครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
โดยนางไพฑูรย์ โพธ์นาง ประธานสถานศึกษา กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
วิทยากรให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
กิจกรรมนันทนาการ
การบริหารกายด้วย ท่าชี่กง
การบริหารกายด้วย ท่าชี่กง
คณะผู้จัดทำ
ที่ปรึกษา
๑. นางกัญญา โสมคำ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองขอนแก่น
๒. นางวิไลพร บูรณ์เจริญ ครู
๓. นางสาวธันยพัฒน์ นูเร ครู
๔. นางสาวมัณฑนา มูลกัณฐ์ ครู
๕. นางสาวอามรรัตน์ ศรีสร้อย บรรณารักษ์ชำนาญการ
คณะทำงาน
๑. นายบรรเจิด แสนเหลา ครูอาสาสมัครฯ/ที่ปรึกษาโซนห้วยน้ำเค็ม
๒. นางมลิวัลย์ อยู่สุข หัวหน้า ครู กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
๓. นายกาญจนพันธ์ ลาสอน หัวหน้า ครู กศน.ตำบลแดงใหญ่
๔. นายเฉลิมชัย แน่นอุดร หัวหน้า ครู กศน.ตำบลสาวะถี
๕. นางสาวกฤติยาภรณ์ เทพชมภู ครู กศน.ตำบล
๖. นายสืบลาบ โพธิ์อ่อน ครู กศน.ตำบล
๗. นายนัฐพงษ์ สุวรรณวงศ์ ครูศูนย์การเรียนชุมชน
๘. นายสนธยา พานโน ครูศูนย์การเรียนชุมชน
ออกแบบภาพและจัดพิมพ์/สืบค้นข้อมูล/ตรวจอักษรและจัดทำรูปเล่ม
๑. นางมลิวัลย์ อยู่สุข ครู กศน.ตำบลบ้านทุ่ม
๒. นางสาวกฤติยาภรณ์ เทพชมภู ครู กศน.ตำบล
๓. นายนัฐพงษ์ สุวรรณวงศ์ ครูศูนย์การเรียนชุมชน
เข้าชม : 82
|