[x] ปิดหน้าต่างนี้
 
   
 


ทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

ตอนที่  1  ข้อมูลส่วนตัว                                                                                                                                                       

                1.  ชื่อ      นาย  ศิลากร        สกุล     ทับทิมไสย

                2.  เกิดวันที่  ........23..........  เดือน   พฤษภาคม    พ.ศ. .......2510...... อายุ  .........45.........  ปี

                3.  วุฒิการศึกษา  .........ปริญญาตรี........  จากสถานศึกษา  ........มหาลัยมหิดล......................

                4.  ที่อยู่  ....บ้านโนนสวรรค์.....  หมู่  ...6....  ตำบล  ...แดงใหญ่.......  อำเภอ     ..... เมือง........

                จังหวัด  .........ขอนแก่น.........  รหัส  ........40000...........  โทรศัพท์  ......0815 - 742098...

                5.  ความรู้ภูมิปัญญาเรื่อง  .................ญจรงค์ไทยอีสาน      ....................................................

                     ประเภทความรู้  .........................หอหัตถศิลป์  ..................................................................

  ตอนที่  2  ข้อมูลการทำงาน

                1.  ประกอบอาชีพ  ..................................  สถานที่ทำงาน  .....55...ม 6.....โนนสวรรค์.............

                2.  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง   .....................................................................................................               

ตอนที่  3  ผลงานดีเด่นที่เป็นที่ประจักษ์  (สรุปลักษณะผลงานโดยย่อมีภาพประกอบ)

 

       

 

 


ทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น

ตอนที่  1  ข้อมูลส่วนตัว

                1.  ชื่อ      นาย   ทวี        สกุล     แสงมณี

                2.  เกิดวันที่  ........1..........  เดือน   ...สิงหาคม...    พ.ศ. .......2514...... อายุ  .........42.........  ปี

                3.  วุฒิการศึกษา  .........มัธยมศึกษาตอนปลาย........  จากสถานศึกษา  ..กศน. เมืองขอนแก่น

                4.  ที่อยู่  ....บ้านป่าชาด.....  หมู่  ...5....  ตำบล    ...แดงใหญ่.......     อำเภอ         .....เมือง........

                   จังหวัด  .........ขอนแก่น.........  รหัส  ........40000...........  โทรศัพท์  ......0868 - 552944...

                5.  ความรู้ภูมิปัญญาเรื่อง  .................การแกะสลักไม้.............................................................

                 ประเภทความรู้  .........................  ท.  พุทธศิลป์................................................................

 ตอนที่  2  ข้อมูลการทำงาน

                1.  ประกอบอาชีพ  ..................................  สถานที่ทำงาน  .....110...ม 5.....ป่าชาด  .............

                2.  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง  .....................................................................................................                     

ตอนที่  3  ผลงานดีเด่นที่เป็นที่ประจักษ์  (สรุปลักษณะผลงานโดยย่อมีภาพประกอบ)

 

       

 

                                                             


ทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น

 ตอนที่  1  ข้อมูลส่วนตัว

                1.  ชื่อ      นาง   สุนทรา        สกุล     โชติอ่อน

                2.  เกิดวันที่  ........1..........  เดือน   ...สิงหาคม...    พ.ศ. .......2494...... อายุ  .........61.........  ปี

                3.  วุฒิการศึกษา  ......... มัธยมศึกษาตอนต้น   ........  จากสถานศึกษา  ..กศน. เมืองขอนแก่น

                4.  ที่อยู่  ....บ้านหนองหลุบ.....  หมู่  ...7....  ตำบล    ...แดงใหญ่.......     อำเภอ   .....เมือง........

                   จังหวัด  .........ขอนแก่น.........  รหัส  ........40000...........  โทรศัพท์  ......0827 - 460718...

                5.  ความรู้ภูมิปัญญาเรื่อง  .................การสานตะกร้าจากใยสังเคราะห์..................................

                     ประเภทความรู้  .........................    หัตถกรรม  ................................................................

 ตอนที่  2  ข้อมูลการทำงาน

                1.  ประกอบอาชีพ  ..................................  สถานที่ทำงาน  .....343...ม 7...หนองหลุบ  .........

                2.  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง  .....................................................................................................

 ตอนที่  3  ผลงานดีเด่นที่เป็นที่ประจักษ์  (สรุปลักษณะผลงานโดยย่อมีภาพประกอบ)

 

 

 

                                                       


ทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น

 ตอนที่  1  ข้อมูลส่วนตัว

                1.  ชื่อ      นาง   สุวิไล        สกุล     หารจริง

                2.  เกิดวันที่  ........15..........  เดือน   ...สิงหาคม...    พ.ศ. .......2502...... อายุ  .........53.........  ปี

                3.  วุฒิการศึกษา  ......... มัธยมศึกษาตอนต้น   ........  จากสถานศึกษา  ..กศน. เมืองขอนแก่น

                4.  ที่อยู่  ....บ้านหนองหลุบ.....  หมู่  ...4....  ตำบล    ...แดงใหญ่.......     อำเภอ   .....เมือง........

                   จังหวัด  .........ขอนแก่น.........  รหัส  ........40000...........  โทรศัพท์  ......0816 - 706992...

                5.  ความรู้ภูมิปัญญาเรื่อง  .................  การพับริบบิ้นเหรียญโปรยทาน  ..................................

                     ประเภทความรู้  .........................    หัตถกรรม    ................................................................

 ตอนที่  2  ข้อมูลการทำงาน

                1.  ประกอบอาชีพ  ..................................  สถานที่ทำงาน  .....266...ม 4...หนองหลุบ  .........

                2.  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง  .....................................................................................................                 

ตอนที่  3  ผลงานดีเด่นที่เป็นที่ประจักษ์  (สรุปลักษณะผลงานโดยย่อมีภาพประกอบ)

 

               

 

 ทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น

 ตอนที่  1  ข้อมูลส่วนตัว

                1.  ชื่อ      นาย  สวาท            สกุล     แก้วลือ

                2.  เกิดวันที่  ........10..........  เดือน   ..ตุลาคม...    พ.ศ. .......2488...... อายุ  .........68.........  ปี

                3.  วุฒิการศึกษา  ......... ป.6   ........  จากสถานศึกษา                          ..กศน.  เมืองขอนแก่น

                4.  ที่อยู่  ....บ้านแดงใหญ่.....  หมู่  ...1....  ตำบล    ...แดงใหญ่.......     อำเภอ   .....เมือง........

                   จังหวัด  .........ขอนแก่น.........  รหัส  ........40000...........  โทรศัพท์  ..............................

                5.  ความรู้ภูมิปัญญาเรื่อง  .................  การจักสาน  ..................................

                     ประเภทความรู้  .........................    หัตถกรรม    ................................................................

 ตอนที่  2  ข้อมูลการทำงาน

                1.  ประกอบอาชีพ  ..................................  สถานที่ทำงาน  ....................................................

                2.  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง  .....................................................................................................

 ตอนที่  3  ผลงานดีเด่นที่เป็นที่ประจักษ์  (สรุปลักษณะผลงานโดยย่อมีภาพประกอบ)

  

               

                                                                                                                                                


ทำเนียบภูมิปัญญาท้องถิ่น

ตอนที่  1  ข้อมูลส่วนตัว                                                                                                 

                1.  ชื่อ      นาย  คำ        สกุล    แก้วลือ

                2.  เกิดวันที่  ........1..........  เดือน   ...มกราคม...    พ.ศ. .......2485...... อายุ  .........65.........  ปี

                3.  วุฒิการศึกษา  ......... ประถมศึกษาปีที่ 6   ........  จากสถานศึกษา  ..กศน. เมืองขอนแก่น

                4.  ที่อยู่  ....บ้านแดงใหญ่.....  หมู่  ...2....  ตำบล    ...แดงใหญ่.......     อำเภอ   .....เมือง........

                   จังหวัด  .........ขอนแก่น.........  รหัส  ........40000...........  โทรศัพท์  ......0850 – 07861 9...

                5.  ความรู้ภูมิปัญญาเรื่อง  .................  เครื่องจักสาน  ..................................

                     ประเภทความรู้  .........................    หัตถกรรม    ................................................................
ตอนที่  2  ข้อมูลการทำงาน

                1.  ประกอบอาชีพ  ..................................  สถานที่ทำงาน  .....................................................

                2.  ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง  .....................................................................................................

 ตอนที่  3  ผลงานดีเด่นที่เป็นที่ประจักษ์  (สรุปลักษณะผลงานโดยย่อมีภาพประกอบ)

 

 

 

                                                                                   

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

                ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้  การพับริบบิ้นเหรียญโปรยทาน 

                  การพับริบบิ้นเป็นศิลปะอย่างหนึ่งปัจจุบันมีผู้นิยมพับริบบิ้นใส่เหรียญ เพื่อใช้โปรยทานในงานอุปสมบท โดยใช้โปรยก่อนนานาคเข้าโบสถ์ซึ่งการพับริบบิ้นมีวิธีการพับหลายแบบ แต่ละแบบมีความสวยงามแตกต่างกัน สำหรับวัสดุอุปกรณ์ที่ต้องเตรียมในการพับริบบิ้น มีดังนี้       1. ริบบิ้น

         2. ไม้บรรทัด

         3. กรรไกร

        4. เหรียญ

                 ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้

                226  บ้านหนองหลุบ  หมู่  4  ตำบล    แดงใหญ่     อำเภอเมือง  จังหวัดขอนแก่น  รหัส  40000     โทรศัพท์  0816 - 706992

 

 

 

                         

 

               

   ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

                               ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้  เครื่องจักสาน

                เครื่องจักสานของไทย

โดยทั่วไปการสร้างเครื่องจักสานจะขึ้นอยู่กับเงื่อนไขทางความต้องการด้านประโยชน์ใช้สอยตามสภาพภูมิศาสตร์รวมถึงประเพณี ความเชื่อ ศาสนา และวัสดุในท้องถิ่นนั้น ๆ ประกอบกันขึ้นเป็นเครื่องจักสานในรูปแบบและลวดลายต่าง ๆ

จากอดีตมาถึงปัจจุบันจะเห็นว่ารูปแบบและลวดลายของเครื่องจักสานที่ทำขึ้นโดยชนชาติต่างๆจะมีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งลวดลายในการสานจะมีจำกัดอยู่ไม่มากลายนัก และความจำกัดของลวดลายนี้ทำให้รูปทรงของเครื่องจักสานมีลักษณะที่ใกล้เคียงกันไปด้วย นอกจากนี้วัสดุที่ใช้ในการทำเครื่องจักสานยังพบว่าในกลุ่มประเทศที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกันก็มีการใช้วัสดุชนิดเดียวกัน เช่น การทำเครื่องจักสานด้วยไม้ไผ่ พบว่ามีทำกันในกลุ่มประเทศแถบเอเชีย เช่น จีน ญี่ปุ่น ไทย และฟิลิปปินส์ เป็นต้น การทำเครื่องจักสานนั้นเป็นหัตถกรรมพื้นบ้านพื้นเมืองที่มีทำกันมาแต่โบราณ และมีทำทั่วไปในทุกภาคของประเทศ

ปัจจุบันเครื่องจักสานของไทยได้รับความสนใจจากชาวต่างชาติเป็นอันมาก เนื่องจากเป็นงานหัตถกรรมอันทรงคุณค่า ผลิตขึ้นจากความคิดสร้างสรรค์และฝีมืออันประณีตของคนไทย และมีการออกแบบที่ทันสมัย ประกอบกับเป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำขึ้นจากวัสดุธรรมชาติซึ่งมีความงดงามตามธรรมชาติอยู่แล้ว


                ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้

                65   บ้านแดงใหญ่  หมู่  2  ตำบลแดงใหญ่     อำเภอเมือง  จังหวัดขอนแก่น  รหัส  40000         โทรศัพท์  0850 – 07861 9

 

 

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

          ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้ การสานตะกร้าใยสังเคราะห์

                    ข้อมูลการสานตะกร้าใยสังเคราะห์
              การสานตะกร้าใยสังเคราะห์ เป็นงานหัตถกรรมประเภทหนึ่ง ที่ใช้เชือกใยสังเคราะห์เป็นวัสดุสำคัญ นำมามัดเป็นปมให้เกิดลวดลายต่างๆ สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงาน ได้หลากหลายรูปแบบ

                    ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้

                343  บ้านหนองหลุบ  หมู่  7 ตำบลแดงใหญ่    อำเภอเมือง  จังหวัดขอนแก่น  รหัส 40000             โทรศัพท์ 0827 – 460718

                       

 

 

               

   ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

            ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้ ท.  พุทธศิลป์

            ข้อมูลการแกะสลักไม้

                สำหรับการแกะสลักไม้ในประเทศไทยนั้นแต่เดิมส่วนมากจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ศาสนาทั้งสิ้นได้แก่งานแกะสลักไม้ประกอบโบสถ์ วิหาร ศาลาวัด หอพระไตรปิฎก ตู้พระไตรปิฎก พระเจดีย์ ฯลฯ ซึ่งมีการสรรค์สร้างอย่างสวยงามและปราณีตบรรจง ปรากฏอยู่ทุกยุคทุกสมัย ในภูมิภาคต่างๆของประเทศไทยมีช่างแกะสลักที่มีฝีมือได้สร้าง สรรค์ผลงานขึ้น มาเป็นจำนวนมาก ศิลปะไม้แกะสลักของล้านนา เป็นงานศิลป์ที่เก่าแก่ มีเอกลักษณ์และมีคุณค่า ควรแก่การภาคภูมิใจสำหรับชาวล้านนาเอง ด้วยเหตุที่ในท้องถิ่นมีไม้สักอุดมสมบูรณ์ สามารถนำมาใช้ในการแกะสลักได้สะดวก งานแกะสลัก จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของ
วัฒนธรรมล้านนาที่สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อ ค่านิยม ประเพณี การทำมาหากินตลอดจนวิถีชีวิตของชาวล้านนา ที่ผูกพันอยู่กับธรรมชาติ ทุ่งนา ป่าไม้ ซึ่งจะพบเห็น กันได้ทั่วไปในปัจจุบันในสถานที่สำคัญทางศาสนา บ้านเรือนที่อยู่อาศัยหรือเครื่องใช้
สอยในชีวิตประจำวัน

             ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้
             110  หมู่  5  บ้านป่าชาติ  ตำบลแดงใหญ่  อำเภอเมือง  จังหวัดขอนแก่น  40000  โทร . 0868 – 552944

  

 

ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

          ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้  เบญจรงค์ไทยอีสาน

                  ข้อมูลเบญจรงค์

 

·         การทำเครื่องเบญจรงค์ถือได้ว่า เป็นงานด้านศิลปหัตถกรรมของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของไทยในอดีตใช้การสั่งทำที่ประเทศจีนตามความคิดและลวดลายของไทย การสั่งทำนั้นจะมีช่างของไทยเดินทางไปควบคุมการผลิตเพื่อให้ได้รูปลักษณะที่เป็นแบบไทย สมัยกรุงศรีอยุธยาและสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ช่วงศตวรรษที่ 18 และ 19 เครื่องถ้วยเบญจรงค์ของราชวงศ์ไทยชั้นสูงได้สั่งทำที่เมืองจิงเต๋อเจิ้น และจากเตาเผาที่มณฑลฝูเจี้ยนและกวางตุ้ง เครื่องเบญจรงค์ที่สั่งทำจากเมืองจิงเต๋อเจิ้น มักเป็นของใช้ในราชสำนักเพราะเนื้อดินปั้นละเอียด แกร่ง และช่างมีฝีมือดี เขียนลายได้ละเอียดสวยงาม

ต้นกำเนิดของเครื่องเบญจรงค์ได้ใช้สีวาดระบายเพียง 3 สี ต่อมาได้พัฒนาเครื่องเบญจรงค์มี 5 สี คือ สีขาว สีเหลือง สีดำ สีแดง และสีเขียว ( คราม ) ดังนั้น ชื่อที่เรียกว่า เบญจรงค์ หมายถึง เครื่องเคลือบที่มีการวาดสีลงไป 5 สี ปัจจุบันมีการใช้สีมากกว่า 30 สี เครื่องเบญจรงค์มีการออกแบบลวดลายต่าง ๆ ด้วยการวาดสี 5 สี ลวดลายที่เป็นที่รู้จักได้แก่ ลายกนก ลายพุ่มข้าวบิณฑ์ ลายเทพพนม ลายนรสิงห์ รวมตลอดถึงลวดลายดอกไม้ ลายสัตว์ และลวดลายจากเรื่องรามเกียรติ์ เป็นต้น ลวดลายที่วาดลงในเครื่องเบญจรงค์ สะท้อนถึงภูมิปัญญาชาวบ้าน มีวัฒนธรรม ตามความเชื่อของไทย และวิถีชีวิตของคนไทย

                ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้

                                  55หมู่  6  บ้านโนนสวรรค์  ต.แดงใหญ่ อำเภอเมือง  จังหวัดขอนแก่น  40000  โทร.  081 – 5742098

                                                                                                                                                         

 

      ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

            ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้  วัดทรายมูล

                      ข้อมูล

                วัดทรายมูลตั้งอยู่ที่บ้านแดงใหญ่ หมู่ที่ 1 ตำบลแดงใหญ่ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

ประวัติ/ความเป็นมา

เมื่อปี พ.ศ. 2367ผู้นำชุมชนบ้านแดงใหญ่ หมู่ที่ 1 พร้อมชาวบ้านได้ร่วมแรงร่วมใจตั้งวัดประจำหมู่บ้านขึ้น ทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 12 ไร่ 1 งาน 64 ตารางวา โดยตั้งชื่อวัดว่า วัดทรายมูลปัจจุบันมีอาคารเสนาสนะประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ 1 หลัง อุโบสถ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 4 หลัง หอกลอง/หอระฆัง 1 หลัง เมรุ 1 หลัง และศาลาเอนกประสงค์ 1 หลังวัดทรายมูลได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2468

การบริหารและปกครองวัดทรายมูล สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระปลัดเติม เมธีวํโส เป็นเจ้าอาวาสวัด

ความสำคัญวัดทรายมูล เป็นสถานที่พำนักของพระภิกษุสงฆ์ เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เป็นสถานที่จัดงานบุญตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม (ฮีต 12) เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศากนิกรชน บ้านแดงใหญ่ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2 และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป

 

                        ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้

                                  บ้านแดงใหญ่ หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 2  ตำบลแดงใหญ่  อำเภอเมือง  จังหวัดขอนแก่น                                                                                                                                                                                  

 

       
  กล่องข้อความ:    กล่องข้อความ:

 

 

 

 

 

  

 


ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

 

            ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้  วัดทรายมูล

วัดสว่างพิทยา: ตั้งอยู่เลขที่ - บ้านหนองหลุบ หมู่ที่ 7 ตำบลแดงใหญ่ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

ประวัติ/ความเป็นมา

เมื่อปี พ.ศ. 2437: พ่อใหญ่ขุนวงศ์ นามโสม, นายภู่, นายเพ็ง และนางสงค์ ชาวบ้านหนองหลุบได้ร่วมแรงร่วมใจกันสร้างวัดขึ้นด้านทิศใต้ของหมู่บ้านติดกับหนองหลุบ ที่ดินมีเนื้อที่ 13 ไร่ 3 งาน 7 ตารางวา ชื่อว่าวัดสว่างพิทยา ปัจจุบันมีอาคารเสนาสนะประกอบด้วย อุโบสถ 1 หลัง ศาลาการเปรียญ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 5 หลัง หอระฆัง/หอกลอง 1 หลัง เมรุเผาศพ 1 หลัง และศาลาบำเพ็ญกุศลศพ 1 หลังวัดสว่างพิทยาได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2513 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

การบริหารและปกครอง: วัดสว่างพิทยา สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย มีเจ้าอาวาสตั้งแต่ก่อตั้งจนถึงปัจจุบัน เท่าที่ทราบนาม 19 รูป ปัจจุบันมี พระครูญาณสารวิสิทธิ์ เป็นเจ้าอาวาสวัด และเจ้าคณะตำบลแดงใหญ่

ความสำคัญ: วัดสว่างพิทยา เป็นสถานที่พำนักของพระภิกษุสงฆ์ เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เป็นสถานที่จัดงานตามขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมอันดีงาม (ฮีต 12) เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ ของพุทธศากนิกรชนบ้านหนองหลุบ หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 10 หมู่ที่ 11 และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป

 

 

 

            ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้

           บ้านหนองหลุบ หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 8 หมู่ที่ 10 หมู่ที่ 11 ตำบลแดงใหญ่ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

กล่องข้อความ:   

 

                                                                                                                                                                                                                                 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

         ตอนที่  1  ประเภทแหล่งเรียนรู้  วัดสระมงคล

ข้อมูล วัดสระมงคล ตั้งอยู่ที่บ้านหนองกอย หมู่ที่ 3 ตำบลแดงใหญ่ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

ประวัติ/ความเป็นมา

เมื่อปี พ.ศ. 2437 ผู้นำชุมชนบ้านหนองกอย หมู่ที่ 3 พร้อมชาวบ้านได้ร่วมแรงร่วมใจตั้งวัดประจำหมู่บ้านขึ้น ทางด้านทิศตะวันออกของหมู่บ้าน ที่ดินตั้งวัดมีเนื้อที่ 10 ไร่ - งาน 18 ตารางวา โดยตั้งชื่อวัดว่า วัดสระมงคลปัจจุบันมีอาคารเสนาสนะประกอบด้วย ศาลาการเปรียญ 1 หลัง อุโบสถ 1 หลัง กุฏิสงฆ์ 3 หลัง หอกลอง/หอระฆัง 1 หลัง และอาคารเอนกประสงค์ 1 หลัง วัดสระมงคล ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมา เมื่อปี พ.ศ.2522 เขตวิสุงคามสีมากว้าง 40 เมตร ยาว 80 เมตร

การบริหารและปกครอง วัดสระมงคล สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย ปัจจุบันมี พระเสมือน มหาปัญฺโญ เป็นเจ้าอาวาสวัด

ความสำคัญ วัดสระมงคล เป็นสถานที่พำนักของพระภิกษุสงฆ์ เป็นสถานที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา เป็นสถานที่จัดงานบุญตามขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม (ฮีต 12) เป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของพุทธศากนิกรชน บ้านหนองกอย หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 9 และผู้มีจิตศรัทธาทั่วไป

 

 

 

         ตอนที่  2  ข้อมูลที่ตั้งแหล่งเรียนรู้

                บ้านหนองกอย หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 9 ตำบลแดงใหญ่ อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

 



เข้าชม : 1856
 
 

ศสกร.ตำบลแดงใหญ่  บ้านป่าชาด  หมู่ที่ 5 ตำบลแดงใหญ่  อำเภอเมือง  จังหวัดขอนแก่น  40000  
โทร 082-603-8674

Powered by MAXSITE 1.10   Modify by   นิกร เกษโกมล   Version 2.05HD  Update by   นายบุญมา มาดี