[x] ปิดหน้าต่างนี้
 

 

 

ข้อมูลพื้นฐานด้านการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
....................................
ศักยภาพการดำเนินงาน
 
         กศน. ตำบลสำราญ ศูนย์การเรียนชุมชน ประกาศจัดตั้งครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2541 ของตำบลสำราญ ซึ่งเป็นศูนย์การเรียนที่จัดตั้งที่องค์การบริหารส่วนตำบลสำราญหลังเก่า อยู่ที่บ้านปลาเซียม หมู่7 มีครูประจำศูนย์การเรียนชุมชนจำนวน 1 คน คือ นางสาวพรไพฑูรย์   ไสยบูรณ์ เป็นครูศูนย์การเรียนชุมชน และมีการบริหารศูนย์การเรียนในรูปแบบของกรรมการสถานศึกษา
ศูนย์การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ประกาศจัดตั้งครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2553 ซึ่งตั้งอยู่ที่
บ้านโคกหมู่ 9 ตำบลสำราญ บริหารจัดการโดยเทศบาลตำบลสำราญ นำโดยนายอาคม ศิลป์ดอนบม นายกเทศมนตรี ตำบลสำราญ และคณะผู้บริหารซึ่งได้รับการคัดเลือกจากสถิติจังหวัดขอนแก่น และกระทรวงเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสาร(ICT) ว่าเป็นพื้นที่เหมาะสมสำหรับการตั้งศูนย์การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) ให้คนในชุมชนได้มีการพัฒนาต่อยอดนวัตกรรม และส่งเสริมให้เยาวชนมีพื้นฐานการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น จึงจัดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งหมด 21 เครื่อง ให้กับศูนย์ (ICT)  กศน.อำเภอเมืองขอนแก่นจึงมีการทำความร่วมมือกับเทศบาลตำบลสำราญในการพัฒนา โดยได้มีการฝึกอบรมคอมพิวเตอร์ระยะสั้นให้กับคนในชุมชนและมีการทำข้อตกลงร่วมกันในการใช้ศูนย์การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT)  เป็นห้องเรียนของนักศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ(ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ มีนางสาวสินีนาฏ   มั่นคง   เป็นครูประจำกลุ่ม (ปวช.)
สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ตำบลสำราญ
 
 
   บุคลากรดำเนินการ    ๓   คน
 
นางสาวพรไพฑูรย์    ไสยบูรณ์    ครูศูนย์การเรียนชุมชน ตำบลสำราญ
โทรศัพท์   ๐๘๙-๖๒๓๐๐๕๘
นางสาวสินีนาฏ   มั่นคง   เป็นครูประจำกลุ่ม (ปวช.) สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ตำบลสำราญ
โทรศัพท์   ๐๘๑-๒๖๓๗๒๘๒
นายสาธิต ภูมิเวียงศรี       เป็นครูประจำกลุ่ม (ปวช.) สาขาพืชศาสตร์ ตำบลสำราญ
โทรศัพท์   ๐๘๑-๘๗๒๖๖๐๓
 
 
 
 
 
 
 
-    ทรัพยากรอำนวยความสะดวกในการบริหารจัดการที่จำเป็น เช่น พัสดุ/ครุภัณฑ์ดังนี้

- โต๊ะครู                             จำนวน    ๒ ตัว
 
- เก้าอี้                                   จำนวน   ๓๐ ตัว
 
- ตู้เก็บเอกสาร                      จำนวน     ๒ ตู้
 
- เครื่องรับสัญญาณดาวเทียมไทยคม    
 
- พัดลมติดผนัง                  จำนวน     ๓ ตัว 
- แบบเรียนทั้ง ๓ ระดับการเรียน
- เครื่องทำน้ำเย็นจำนวน     ๑ เครื่อง
 
 
 

 
 
 
 
 
 
 
 
 



เอกสาร/สื่อการเรียนการสอน ทั้ง ๓ ระดับการเรียน

- โต๊ะเรียน                             จำนวน    ๑๒ ตัว
 - ตู้เหล็ก 2 ลิ้นชัก            จำนวน     ๑     ตู้
- โทรทัศน์                            จำนวน     ๑   เครื่อง
- เครื่องเล่นวีดีโอ                จำนวน     ๑  เครื่อง
- คอมพิวเตอร์                   จำนวน     ๑  ชุด 
 

 
 
 


 

      
ข้อมูลด้านการศึกษา
- การศึกษาในระบบ
จำนวน ๒,๑๕๑ คน
การศึกษานอกระบบ
       จำนวน          ๔๗๐       คน
 
ข้อมูลด้านแหล่งเรียนรู้
 
                - ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนตำบลสำราญ
                - วัดป่าธรรมอุทยาน สำราญ – เพี้ยฟาน
                - ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง บ้านนาเพียง
                - วัด
 
 
 
ข้อมูลผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุในตำบลสำราญ ในแต่ละหมู่บ้าน
 

หมู่ที่
ชื่อหมู่บ้าน
จำนวนประชากร (คน)
ชาย
หญิง
หมู่ที่  1
สำราญ
32
42
หมู่ที่   2
นางาม
24
42
หมู่ที่ 3
น้ำเกลี้ยง
34
18
หมู่ที่ 4
นาเพียง
20
18
หมู่ที่ 5
เพี้ยฟาน
32
42
หมู่ที่ 6
ไก่นา
30
41
หมู่ที่ 7
ปลาเซียม
12
28
หมู่ที่ 8
อัมพวัน
35
37
หมู่ที่ 9
บ้านโคก
42
55
หมู่ที่ 10
โนนแต้
12
38
หมู่ที่ 11
โนนสว่าง
10
18
หมู่ที่ 12
บ้านโคก
23
52
หมู่ที่ 13
สำราญ
 
 
รวม
306
413

 
ข้อมูลประชากรวัยแรงงาน
 

 
หมู่ที่
 
ชื่อหมู่บ้าน
จำนวนประชากร
ชาย
หญิง
รวม
1
สำราญ
447
493
940
2
นางาม
325
346
671
3
น้ำเกลี้ยง
416
412
828
4
นาเพียง
246
237
483
5
เพี้ยฟาน
322
346
668
6
ไก่นา
317
343
660
7
ปลาเซียม
329
309
663
8
อัมพวัน
470
469
969
9
บ้านโคก
483
509
992
10
โนนแต้
294
304
598
11
โนนสว่าง
84
87
171
12
บ้านโคก
536
486
1,022
13
สำราญ
278
295
573
รวม
4,547
4,661
9,208

 
 
 
ข้อมูลความต้องการของคนในชุมชนด้านการเรียนรู้
เพิ่มโอกาสทางการศึกษา   การได้เข้ารับการศึกษาขั้นพื้นฐานอ่านออก เขียนได้ คิดเลขได้ และได้รับการศึกษาต่อในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๖)  และอยากเรียนถึงระดับปริญญาตรี ส่งเสริมให้มีทักษะในการประกอบอาชีพที่หลากหลาย การประกอบอาชีพที่สุจริต การมีรายได้เสริมในครอบครัว และการมีสุขภาพดี
 
ข้อมูลปัญหาชุมชน
                ๑. ด้านสังคม โดยส่วนมากเป็นสังคมเมือง ต่างคนต่างอยู่ ชุมชนแออัด การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
ลดน้อยลง ขาดความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ
๒. การบริหารจัดการ การดำเนินงาน กิจกรรมโครงการต่าง ๆ การบูรณาการกับหน่วยงานอื่น มีความร่วมมือค่อนข้างน้อย
๔. การขยายตัวของเขตชุมชน ประชากรเพิ่มมากขึ้น ทำให้สาธารณูปโภคและสาธารณูปการไม่ทั่วถึงกัน ประชาชนว่างงาน พลาดโอกาสทางการเรียน และนักเรียนออกจากโรงเรียนกลางคัน
 
 
 
 
 
 
 


เข้าชม : 1078